การเมือง การ ปกครอง ธนบุรี

May 20, 2022, 6:18 pm
  1. ใบงานที่ 3 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี.pdf
  2. พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรธนบุรี | MindMeister Mind Map

ใบงานที่ 3 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี

ใบงานที่ 3 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี.pdf

พระมหากษัตริย์ เป็นชนชั้นสูงสุดในสังคม 2. พระบรมวงศานุวงศ์ 3. ขุนนางข้าราชการ 4. ไพร่ เป็นชนชั้นที่มีมากที่สุดในสังคม 5.

ปัญหาความอดอยากของราษฎร 2. การค้าระหว่างประเทศ 3. การเก็บภาษีอากร ปัญหาความอดอยากของราษฎรตอนปลายสมัยอยุธยาราษฎรไม่สะดวกในการประกอบอาชีพทำมาหากินไม่มีเวลาในการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เนื่องจากมีศึกสงครามมาตั้งแต่ พ.

พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรม โครงสร้างทางสังคมไทยสมัยธนบุรีประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ได้แก่ -พระมหากษัตริย์ เป็นผู้ที่มีพระราชอำนาจสูงสุดในแผ่นดิน -พระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ บรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดา -ไพร่ ได้แก่ คนธรรมดาสามัญที่เป็นชายฉกรรจ์ ส่วนเด็ก ผู้หญิงหรือคนชราถือเป็นบริวารของไพร่ -ทาส หมายถึง บุคคลที่มิได้เป็นไทแก่ตนเองโดยสิ้นเชิง -พระสงฆ์ เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา และเป็นผู้อบรมสั่งสอนคนในสังคมให้เป็นคนดี 2. 1 สภาพสังคมสมัยธนบุรี เนื่องจากบ้านเมืองตกอยู่ภาวะสงคราม ทางราชการจึงต้องควบคุมกำลังคนอย่างเข็มงวดเพื่อเตรียมสำหรับต้านภัยพม่า มีการลงทะเบียนชายฉกรรจ์เป็นไพร่หลวง โดยการสักเลกที่แขนเพื่อป้องกันการหลบหนี 2.

  1. ผม สี ฟ้า เขียว
  2. การปกครองสมัยกรุงธนบุรี | ประวัติศาสตร์สมัยกรุงธนบุรี
  3. การเมือง การ ปกครอง ธนบุรี เกณฑ์
  4. นม enfalac a+

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรของคนไทยในช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่าง พ. ศ.

ความสัมพันธ์กับลาว * ไทยเป็นฝ่ายทำสงครามขยายอาณาเขตในดินแดนลาว 2 ครั้ง ครั้งแรกสงครามตีเมืองจำปาศักดิ์ พ. 2319 เกิดจากลาวก่อกบฏต่อไทย ชัยชนะของกองทัพกรุงธนบุรีครั้งนี้ ทำให้เมืองจำปาศักดิ์และหัวเมืองลาวตอนล่างตกอยู่ใต้อำนาจของไทยตั้งแต่บัดนั้น * สงครามตีเมืองเวียงจันทน์ พ. 2321 เกิดความขัดแย้งระหว่างเสนาบดีกับเจ้าผู้ครองนครเวียงจันทน์ จึงโปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพไปปราบเป็นผลให้ลาวตกเป็น ประเทศราชของไทยทั้งหมด แม่ทัพไทยยังได้อัญเชิญพระแก้วมรกดและพระบางมาไว้ที่ไทยด้วย 4. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนา * นครเชียงใหม่ ศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา นับตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นต้นมา เชียงใหม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของพม่าและไทยสลับกัน โดยพม่าใช้เชียงใหม่เป็นแหล่งสะสมเสบียงอาหารทุกครั้งที่ยกทัพมาตีไทย * กองทัพกรุงธนบุรียกไปตีเมืองเชียงใหม่ พ. 2317 สามารถขับไล่พม่าออกไปได้สำเร็จ ล้านนาจึงตกอยู่ใต้อำนาจไทยอีกครั้ง 5. ความสัมพันธ์กับหัวเมืองมลายู * หัวเมืองมลายูตกเป็นเมืองประเทศราชของไทยมาตั้งแต่สมัยอยุธยา อันได้แก่ เมืองปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน และตรังกานู ต่อมาเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกจึงแยกตัวเป็นอิสระ * กองทัพกรุงธนบุรีไม่พร้อมที่จะยกไปปราบ เนื่องจากหัวเมืองมลายูอยู่ห่างไกลเกินไป ตลอดรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ จึงปล่อยให้เป็นอิสระ เหตุการณ์ตอนปลายสมัยกรุงธนบุรี 1.

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรธนบุรี | MindMeister Mind Map

กรุงศรีอยุธยาถูกทำลายชำรุดทรุดโทรมมาก ยากแก่การบูรณะให้ดีดังเดิมได้ 2. กรุงศรีอยุธยามีบริเวณกว้างขวางมาก เกินกว่ากำลังของพระองค์ที่มีอยู่ เพราะผู้คนอาศัยอยู่ตามเมืองน้อย ส่วนมากหลบหนีพม่าไปอยู่ตามป่า จึงยากแก่การรักษาบ้านเมืองได้สะดวกและปลอดภัย 3. ข้าศึกโดยเฉพาะพม่ารู้ลู่ทางภูมิประเทศและจุดอ่อนของกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างดี ทำให้ไทยเสียเปรียบในด้านการรบ 4. ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาเป็นอันตรายทั้งทางบกและทางน้ำ ข้าศึกสามารถโจมตีได้สะดวก 5. กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ห่างจากปากแม่น้ำมากเกินไป ทำให้ไม่สะดวกในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ซึ่งนับวันจะเจริญขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงทรงตัดสินใจเลือกเอากรุงธนบุรีเป็นราชธานีด้วยสาเหตุสำคัญต่อไปนี้ 1. กรุงธนบุรีเป็นเมืองขนาดเล็ก เหมาะสมกับกำลังป้องกันทั้งทางบกและทางน้ำ 2. กรุงธนบุรีตั้งอยู่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา สะดวกในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ 3. สะดวกในการควบคุมการลำเลียงอาวุธและเสบียงต่างๆ ไปตามหัวเมืองหรือจากหัวเมืองเข้ามาช่วย เมื่อเกิดศึกสงคราม 4. ถ้าหากข้าศึกยกกำลังมามากเกินกว่ากำลังของทางกรุงธนบุรีจะต้านทานได้ก็สามารถย้ายไปตั้งมั่นที่จันทบุรีได้ โดยอาศัยทางเรือได้อย่างปลอดภัย 5.

ขุนนาง มีศักดินา 400 ไร่ขึ้นไป ได้รับยศ ราชทินนามและตำแหน่ง 3. ไพร่ คือราษฎรที่ต้องสังกัดมูลนายเพื่อถูกเกณฑ์แรงงานให้กับราชการ มีศักดินา 10-25 ไร่ 3. ทาส คือ บุคคลที่ขาดอิสระเสรีและสิทธิในตนเอง ต้องตกเป็นของนายเงินจนกว่าจะได้รับการไถ่ตัว มีศักดินา 5 ไร่ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 4. มีความสัมพันธ์หลายลักษณะ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจเป็นสำคัญ 4. ความสัมพันธ์กับรัฐที่อยู่ใกล้เคียง ส่วนใหญ่เป็นการปกป้องอาณาจักร เช่น กับพม่า ล้านนา เป็นต้น 4. ความสัมพันธ์กับดินแดนอื่นๆในเอเชีย ส่วนใหญ่เป็นการค้าขาย โดยเฉพาะกับจีน 4. ความสัมพันธ์กับชาติตะวันตก ค้าขายอาวุธ

3 งานสร้างสรรค์ศิลปะและวรรณกรรม * ความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปแขนงต่างๆ ในสมัยธนบุรีไม่ปรากฏเด่นชัดนัก เนื่องจากบ้านเมืองตกอยู่ในภาวะสงครามตลอดรัชกาล ความบีบคั้นทางเศรษฐกิจและบรรดาช่างฝีมือถูกพม่ากวาดต้อนไปจำนวนมาก * งานสถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่เป็นงานซ่อมแซมบูรณะปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ และงานก่อสร้างพระราชวังเดิม * งานวรรณกรรม ได้แก่ รามเกียรติ์ (พระราชนิพนธ์บางตอนในสมเด็จพระเจ้าตากสิน), ลิลิตเพชรมงกุฏ (หลวงสรวิชิต), และโคลงยอพระเกียรติ์พระเจ้ากรุงธนบุรี(นายสวนมหาดเล็ก) เป็นต้น 3. ด้านการศึกษา * วัดเป็นสถานศึกษาของเด็กไทยในสมัยธนบุรี พระสงฆ์เป็นผู้สอนให้ความรู้ทั้งด้านหนังสือและอบรมความประพฤติ และเด็กชายเท่านั้นที่มีโอกาสได้เล่าเรียน * การเรียนวิชาชีพ เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ซึ่งจะถ่ายทอดวิชาชีพตามบรรพบุรุษของตน เช่นวิชาช่างปั่น ช่างเหล็ก ช่างเงิน ช่างทอง เป็นต้น * การศึกษาสำหรับเด็กหญิง มีการเล่าเรียนการเย็บปักถักร้อย การปรุงแต่งอาหารและวิชางานบ้านงานเรือนสำหรับกุลสตรี ซึ่งถ่ายทอดกันมาตามประเพณีโบราณ มีเฉพาะในหมู่ลูกหลานขุนนางและพระราชวงศ์ ส่วนวิชาหนังสือไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียน พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 1.

การเมือง การ ปกครอง ธนบุรี เกณฑ์
ปต-อ-ซ-ส-บ-ช-รสอรท